ระบบรายงานผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 ระบบรายงานผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำmail

แบบรายงานการาดเจ็บและเสียชีวิตจากการจมน้ำmail


การป้องกันการจมน้ำ
สถานการณ์และปัจจัยเสี่ยงจากการตกน ้า จมน ้า การจมน ้าเป็นสาเหตุน้าของการเสียชีวิตจากสาเหตุการบาดเจ็บ (Injury) จากรายงานการจมน ้า ระดับโลก (Global Report on Drowning) ขององค์การอนามัยโลก (1) พบว่า คนที่จมน ้าเสียชีวิต มากกว่า ร้อยละ 50 อยู่ในกลุ่มอายุต่้ากว่า 25 ปีทั งนี ในกลุ่มเด็กอายุต่้ากว่า 15 ปีพบว่า การจมน ้าเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับที่ 3 (เสียชีวิตปีละ 140,219 คน) รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis) และเอดส์ (HIV) ซึ่งต่างกับ ประเทศไทยซึ่งพบว่าการจมน ้าเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่หนึ่ง (2, 3) ตั งแต่ปี พ.ศ. 2552 - 2561 ข้อมูลการเสียชีวิตจากใบมรณะบัตร รวบรวมโดยกองยุทธศาสตร์ และแผนงาน ส้านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พบมีจ้านวนผู้เสียชีวิตจากการตกน ้า จมน ้า (ทุกกลุ่มอายุ) อยู่ในช่วง 3,250 - 4,222 คนต่อปี หรือเฉลี่ยปีละ 3,771 คน อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 5.0 - 6.3 ส้าหรับในกลุ่มเด็กอายุต่้ากว่า 15 ปี จ้านวนการเสียชีวิตอยู่ในช่วง 681 - 1,207 คน หรือเฉลี่ยปีละ 904 คน อัตราการตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 6.0 - 9.4 (4) แนวโน้มการเสียชีวิตจากการจมน ้าของเด็กอายุต่้ากว่า 15 ปี ค่อยๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง ตั งแต่ ปลายปี พ.ศ. 2549 ที่เริ่มท้า Intervention จากเดิม (ก่อนปี พ.ศ. 2549) มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน ้าเฉลี่ยปีละ 1,500 คน หรืออัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคนอยู่ในช่วง 9.1 - 11.5 และในปี พ.ศ. 2559 พบว่า การเสียชีวิตจากการจมน ้าของเด็กอายุต่้ากว่า 15 ปี เท่ากับ 713 คน หรือมีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็ก แสนคนเท่ากับ 6.2 (3) อย่างไรก็ตามเป็นที่น่าสังเกตว่า ก่อนปี พ.ศ. 2558 กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี มีอัตราการเสียชีวิต สูงที่สุด แต่หลังจากปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา พบว่ากลุ่มเด็กอายุต่้ากว่า 5 ปี เป็นกลุ่มที่เสียชีวิตสูงที่สุด ซึ่งน่าจะ เป็นกลุ่มที่ป้องกันได้ง่ายที่สุด เพราะเด็กกลุ่มนี อยู่ภายใต้การดูแลของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก มาตรการที่ส้าคัญ ส้าหรับเด็กกลุ่มนี คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการจมน ้าแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กเมื่อพาเด็กมาฉีดวัคซีน โดยบุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงการจัดพื นที่เล่น (Playpen) ที่ปลอดภัยให้แก่เด็ก ซึ่งทางองค์การอนามัยโลก ระบุว่าเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพ (5) มาตรการป้องกันการจมน ้า ข้อแนะน้าขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) (5) ตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก(WHO) ในหนังสือ Preventing drowning: an implementation ปี พ.ศ. 2560 ได้ให้ข้อแนะน้าในการด้าเนินงานป้องกันการจมน ้าไว้6 มาตรการป้องกันการจมน ้า และ 4 กลยุทธ์ ในการสนับสนุนการด้าเนินงาน ดังนี้

    มาตรการ 1) จัดหาสถานที่ปลอดภัยที่อยู่ห่างจากแหล่งน ้าให้เด็กก่อนวัยเรียน
                  2) ติดตั งสิ่งกีดขวางเพื่อจ้ากัดการเข้าถึงแหล่งน ้า
                  3) สอนเด็กวัยเรียน (อายุ 6 ปีขึ นไป) ให้ว่ายน ้าเป็นและมีทักษะด้านความปลอดภัยทางน ้า
                 4) สร้างความสามารถในการฟื้นคืนสู่สภาวะปกติและบริหารความเสี่ยงจากอุทกภัยและอันตรายอื่นๆ
                 5) ให้ความรู้แก่ผู้เห็นเหตุการณ์เพื่อการเข้าช่วยเหลือและกู้ชีพอย่างปลอดภัย
                 6) การก้าหนดและบังคับใช้ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเดินเรือ การขนส่ง ทางน ้า และการโดยสารเรือข้ามฟาก กลยุทธ์ในการสนับสนุนการด้าเนินงาน
                 1) ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่างๆ
                 2) การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการจมน ้าให้กับประชาชนผ่านการสื่อสารอย่างมีกลยุทธ์
                 3) การพัฒนาแผนความปลอดภัยทางน ้าแห่งชาติ
                4) การวิจัย: การพัฒนาการป้องกันการเกิดเหตุจมน ้า ผ่านการเก็บข้อมูล และงานวิจัยที่ออกแบบ มาอย่างดี มาตรการป้องกันการจมน ้าของประเทศไทย
    มาตรการป้องกันระดับชุมชน: กลยุทธ์ผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) (6) ผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) เป็นกลยุทธ์ที่จะท้าให้เกิดการด้าเนินงานป้องกันการจมน ้า อย่างต่อเนื่องและทุกมาตรการ รวมทั งการด้าเนินการโดยใช้การมีส่วนร่วมของชุมชน ในรูปแบบแบบสหสาขา และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่