นโยบายของผู้บริหาร
นโยบายของผู้บริหาร
นายชัยวุฒิ วันควร สาธารณสุขอำเภอปัว มอบนโยบายแก่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในสังกัด และบุคลากรของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอปัว จังหวัดน่าน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 ให้ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับ ยึดหลักธรรมมาภิบาล ในการปฏิบัติและพัฒนางานให้มีความซื่อสัตย์ สุจริตและปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและหลักเกณฑ์ที่กำหนด สร้างวัฒนธรรมสุจริต ป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เปิดเผยและให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ป้องกันการกระทำผิดวินัยและกฎหมายของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ
“การบริหารประสิทธิภาพ บริการคุณภาพ มีส่วนร่วมของเครือข่าย เพื่อสุขภาพดีของประชาชน "
๑. ตำเนินการตามนโยบายประเทศ, กระทรวง ,จังหวัดและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
๒. บริหารงาน ยึดหลักธรรมาภิบาล
๓. พัฒนาระบบควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน
๔ พัฒนาประสิทธิภาพด้านการวางแผน ควบคุม กำกับ ประเมินผลการดำเนินงานสาธารณสุข
๕. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพประชาชน และแก้ไขปัญหาสาธารณสุขพื้นที่
๖. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ความรู้, เชี่ยวชาญวิชาชีพ การทำงานเป็นทีม และการประสานงานระหว่างเครือข่าย
๗. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนำสารสนเทศไปใช้สนับสนุนการบริหาร บริการ วิชาการ เน้น ระบาด
๘. หน่วยบริการมีคุณภาพ
๙. หน่วยบริการได้รับการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ให้พึ่งตนเองได้
นายชัยวุฒิ วันควร สาธารณสุขอำเภอปัว มอบนโยบายแก่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในสังกัด และบุคลากรของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอปัว จังหวัดน่าน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2565 ให้ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับ ยึดหลักธรรมมาภิบาล ในการปฏิบัติและพัฒนางานให้มีความซื่อสัตย์ สุจริตและปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับและหลักเกณฑ์ที่กำหนด สร้างวัฒนธรรมสุจริต ป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน เปิดเผยและให้สามารถเข้าถึงข้อมูล เปิดโอกาสการมีส่วนร่วม ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน ป้องกันการกระทำผิดวินัยและกฎหมายของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ
“การบริหารประสิทธิภาพ บริการคุณภาพ มีส่วนร่วมของเครือข่าย เพื่อสุขภาพดีของประชาชน "
๑. ตำเนินการตามนโยบายประเทศ, กระทรวง ,จังหวัดและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่
๒. บริหารงาน ยึดหลักธรรมาภิบาล
๓. พัฒนาระบบควบคุมภายใน ตรวจสอบภายใน
๔ พัฒนาประสิทธิภาพด้านการวางแผน ควบคุม กำกับ ประเมินผลการดำเนินงานสาธารณสุข
๕. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพประชาชน และแก้ไขปัญหาสาธารณสุขพื้นที่
๖. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ความรู้, เชี่ยวชาญวิชาชีพ การทำงานเป็นทีม และการประสานงานระหว่างเครือข่าย
๗. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนำสารสนเทศไปใช้สนับสนุนการบริหาร บริการ วิชาการ เน้น ระบาด
๘. หน่วยบริการมีคุณภาพ
๙. หน่วยบริการได้รับการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ให้พึ่งตนเองได้